ชื่อเรื่อง |
เวชบำบัดวิกฤตสงขลานครินทร์ : Multidisciplinary in critical care medicine / รังสรรค์ ภูรยานนทชัย, ประสบสุข อินทรักษา บรรณาธิการ |
ชื่อเรื่องที่แตกต่าง |
Multidisciplinary in critical care medicine |
ISBN |
978-616-27-1176-3
|
พิมพ์ลักษณ์ |
สงขลา : หน่วยผลิตตำรา คณะแพทยศาตร์มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 2557 |
เลขเรียก NLM |
WB105 ว896ว 2557 |
ลักษณะทางกายภาพ |
742 หน้า : ภาพประกอบ |
หมายเหตุ |
บรรณานุกรม: รังสรรค์ ภูรยานนทชัย และประสบสุข อินทรักษา (บรรณาธิการ). (2555). เวชบำบัดวิกฤตสงขลานครินทร์. สงขลา: หน่วยผลิตตำรา คณะแพทยศาสตร์มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์. |
หมายเหตุ |
Contents: บทที่ 1 การเฝ้าระวังพื้นฐานในการติดตามความดันในผู้ป่วยภาวะช็อก - - บทที่ 2 การประเมินการตอบสนองต่อการให้สารน้ำ - - บทที่ 3 การระงับปวดและการระงับประสาทในผู้ป่วยวิกฤต - - บทที่ 4 การควบคุมระดับน้ำตาลในผู้ป่วยที่รับรักษาตัวในหอผู้ป่วยวิกฤต - - บทที่ 5 ภาวะต่อมหมวกไตทำงานต่ำในผู้ป่วยวิกฤต - - บทที่ 6 อาการท้องเสียในผู้ป่วยเวชบำบัดวิกฤต - - บทที่ 7 การป้องกันการเกิดแผลในกระเพาะอาหารจากภาวะเครียดในผู้ป่วยวิกฤต - - บทที่ 8 แนวทางปัจจุบันของการให้โภขนะค้ำจุนในผู้ป่วยวิกฤต - - บทที่ 9 โภชนบำบัดผ่านหลอดเลือดในผู้ป่วยวิกฤติ -- บทที่ 10 แนวทางการให้เลือดในผู้ป่วยวิกฤติอายุรกรรม - - บทที่ 11 ภาวะช็อกจากหัวใจ - - บทที่ 12 ภาวะลิ่มไขมันอุดตันหลอดเลือด - - บทที่ 13 ภาวะลิ่มเลือดอุดตันในหลอดเลือดดำในผู้ป่วยวิกฤติ - - บทที่ 14 กลุ่มอาการหายใจลำบากเฉียบพลัน - - บทที่ 15 การหย่าเครื่องช่วยหายใจ - - บทที่ 16 เครื่องช่วยหายใจชนิด Airway pressure release ventilation (APRV) - - บทที่ 17 แนวทางการรักษาล่าสุดในภาวะช็อกจากการติดเชื้อ - - บทที่ 18 การใช้ Biomarkers ในภาวะเซพสิส - - บทที่ 19 การเลือกยาปฏิชีวนะอย่างเหมาะสมในผู้ป่วยที่มีภาวะ Sepsis หรือ septic shock - - บทที่ 20 การดูแรักษาการชักต่อเนื่องชนิดเกร็งกระดูกทั้งตัวในผู้ใหญ่ - - บทที่ 21 อาการคลุ้มคลั่งในผู้ป่วยวิกฤต - - บทที่ 22 การดูแลสตรีตั้งครรภ์ที่มีโรคหัวใจ - - บทที่ 23 การดูแลรักษาภาวะไตบาดเจ็บเฉียบพลัน - - บทที่ 24 ภาวะแท้งติดเชื้อ - - บทที่ 25 ภาวะน้ำคร่ำหลุดอุดหลอดเลือด- - บทที่ 26 การดูแลสตรีตั้งครรภ์ที่เป็นโรคหัวใจ - - บทที่ 27 กลุ่มอาการ HELLP - - บทที่ 28 การช่วยกู้ชีพทารกแรกเกิด 2010 - - บทที่ 29 คำแนะนำใหม่ของการกู้ชีพเด็กในปี พ.ศ.2553 - - บทที่ 30 แนวทางปัจจุบันในการรักษากลุ่มอาการหายใจลำบากเฉียบพลันในเด็ก - - บทที่ 31 การใช้เครื่องช่วยหายใจความถี่สูง - - บทที่ 32 แนวทางปัจจุบันของการให้เลือดในผู้ป่ยวิกฤตทางอุบัติเหตุ - - บทที่ 33 มุมมองศัลยแพทย์การดูแลผู้ป่วยช็อกจากการติดเชื้อ - - บทที่ 34 การใช้กระบวนการ Therapeutic hypothermia ระหว่างผ่าตัด - - บทที่ 35 เครื่องให้ออกซิเจนในหออภิบาลผู้ป่วยเด็กแรกคลอด -- บทที่ 37 พยาบาลกับการสื่อสารในผู้ป่วยวิกฤต -- บทที่ 38 การกระตุ้นการเคลื่อนไหวในผู้ป่วยวิกฤติอายุรกรรม - - บทที่ 39 การพยาบาลเพื่อการป้องกันการติดเชื้อในทางเดินปัสสาวะจากการคาสายสวนปัสสาวะ - - บทที่ 41 การพยาบาลในการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤต - - บทที่ 42 การส่งเสริมการนอนหลับในผูป่วยวิกฤต - - บทที่ 43 การปฏิบัติพยาบาลในการให้อาหาร ทางสายยางในผู้ป่วยวิกฤตศัลยกรรม - - บทที่ 44 การดูแลทางการพยาบาลในผู้ป่วยวิกฤตด้วยกระบวนการ FASTHUG and BANDAIDS - - บทที่ 45 บทบาทของพยาบาลในการป้องกันการเกิดภาวะลิ่มเลือดอุดตันหลอดเลือดดำในผู้ป่วยภาวะวิกฤต - - บทที่ 46 บทบาทของพยาบาลในการประเมินการป้องกันและการจัดการภาวะสับสนเฉียบพลันในผู้ป่วยวิกฤต |
หัวเรื่อง |
ภาวะฉุกเฉิน--ผู้ป่วย--การรักษา |
หัวเรื่อง |
ผู้ป่วยหนัก, การดูแล |
หัวเรื่อง |
ผู้ป่วยหนัก--ภาวะแทรกซ้อน |
หัวเรื่อง |
เวชศาสตร์ฉุกเฉิน |
หัวเรื่อง |
แบคทีเรีย, การติดเชื้อ--การรักษา |
ผู้แต่งร่วม |
รังสรรค์ ภูรยานนทชัย, บรรณาธิการ |
ผู้แต่งร่วม |
ประสบสุข อินทรักษา, บรรณาธิการ |
ผู้แต่งนิติบุคคล |
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์. คณะแพทยศาสตร์. หน่วยผลิตตำรา |
เชื่อมโยง* |
เวชบำบัดวิกฤตสงขลานครินทร์ (10039950).pdf (สารบัญหนังสือ) |