ดรรชนี
วารสารพยาบาลศาสตร์=
/ SERIALS
Bib
13399108669
มีดรรชนีวารสาร
•
ความแตกต่างของความรู้ด้านอนามัยเจริญพันธุ์ และการคุมกำเนิดระหว่างวัยรุ่นตั้งครรภ์และวัยรุ่นไม่ตั้งครรภ์
•
ความเครียดในการศึกษาทางการพยาบาล: เทคนิคการผ่อนคลายสำหรับร่างกายและจิตใจ
•
ประสบการณ์เรียนรู้จากการนำหลักสูตรการสร้างเสริมสุขภาพสำหรับวิชาชีพการพยาบาลไปใช้ ณ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลแห่งหนึ่งในภาคกลาง
•
ปัจจัยทำนายความรู้เรื่องโรคและความเชื่อด้านสุขภาพต่อพฤติกรรมป้องกันการเกิดโรคหลอดเลือดแดงส่วนปลายอุดตันในผู้สูงอายุกลุ่มเสี่ยง
•
รูปแบบการสร้างเสริมพัฒนาการด้านภาษาแก่เด็กอายุ 2-4 ปี โดยบิดามารดาหรือผู้ดูแล: กรณีศึกษาศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
•
ความสัมพันธ์ระหว่างความต้องการมีส่วนร่วมในการดูแล เพศ อายุ การรบกวนจากอาการ และการรับรู้คุณภาพการดูแลของผู้ป่วยมะเร็งโลหิตวิทยาระหว่างรับการรักษาในโรงพยาบาล
•
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเกิดภาวะเบาหวานขณะตั้งครรภ์ในสตรีตั้งครรภ์ที่ Glucose Chalenge Test ผิดปกติ
•
ปัจจัยทำนายการปฏิบัติของพยาบาลเด็กในการดูแลโดยมีครอบครัวเป็นศูนย์กลาง
•
เปรียบเทียบดัชนีมวลกาย ความเครียดเรื้อรัง ความแตกฉานทางสุขภาพ ความรับผิดชอบของผู้ป่วย และการรับรู้การดูแลแบบบุคคลเป็นศูนย์กลางระหว่างผู้ป่วยที่เป็นนิ่วในระบบทางเดินปัสสาวะซ้ำและผู้ที่ไม่เป็นซ้ำ
•
โปรแกรมการให้ข้อมูล เสริมแรงจูงใจ และทักษะการรับประทานยาเพิ่มสม่ำเสมอในการรับประทานยาจับฟอสเฟตในผู้ป่วยฟอกเลือดด้วยไตเทียม
•
ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับสมรรถนะด้านการสร้างเสริมสุขภาพของพยาบาลวิชาชีพในเขตพื้นที่ภาคกลาง
•
ผลของโปรแกรมการสอนต่อความรู้และความสมารถในการดูแลตนเองในผู้ป่วยที่ได้รับการผ่าตัดทำทางเบี่ยงหลอดเลือดแดงโคโรนารี
•
นวัตกรรมการจัดระบบการดูแลสำหรับผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยงโรคไตเรื้อรัง: กรณีศึกษา โรงพยาบาลชุมชนแห่งหนึ่ง จังหวัดนครปฐม
•
อินธิพลของคุณภาพการนอนหลับ ภาวะโภชนาการและภาวะโรคร่วมต่อคุณภาพชีวิตในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังก่อนการบำบัดทดแทนไต
•
อิทธิพลของความเครียด สถานภาพทางการเงิน การรับรู้ความรุนแรงของอาการ และการรับรู้อุปสรรคต่อพฤติกรรมต่อพฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพในผู้ป่วยมะเร็งอุ้งเชิงกรานขณะได้รับรังสีรักษา
•
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อภาวะโภชนาการของผู้ป่วยมะเร็งลำไส้ใหญ่และลำไส้ตรงที่ได้รับยาเคมีบำบัด
•
ปัจจัยทำนายพฤติกรรมการออกกำลังกายของพนักงานโรงไฟฟ้าที่มีน้ำหนักเกินเกณฑ์
•
สมรรถนะด้านการสร้างสุขภาพของพยาบาล: กรณีศึกษาพื้นที่ภาคกลาง
•
ปัจจัยทำนายการปฏิบัติการพยาบาลตามหลักฐานเชิงประจักษ์ของพยาบาลเด็ก
•
ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับอาการอ่อนล้าในผู้ป่วยเด็กโรคมะเร็งที่ได้รับยาเคมีบำบัด
•
ผลของการให้คำปรึกษาเพื่อสร้างแรงจูงใจต่อความพร้อมในการใช้การคุมกำเนิดระยะยาวในวตรีตั้งครรภ์วัยรุ่น: การศึกษานำร่อง
•
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศในเยาวชนที่ใช้แอมเฟตามีน
•
ประสิทธิผลของโปรแกรมการวางแผนจำหน่ายแบบผู้ผู้ป่วยนอกต่อความวิตกกังวลและความสมารถในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวันในผู้ป่วยที่เข้ารับการผ่าตัดต้อกระจก
•
ประสบการณ์การมีอาการอ่อนล้า กลวิธีการจัดการกับอาการและภาวะการทำหน้าที่ในผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง
•
อิทธิพลของการรับรู้ความจำเป็นต่อการใช้ยา ความกังวลจากการใช้ยา ผลข้างเคียง และระยะเาลาการรักษาต่อความร่วมมือในการใช้ยาคอร์ติโคสเตียรอยด์ชนิดสูดในผู้ป่วยผู้ใหญ่โรคหืด
•
อิทธิพลของอาการเหนื่อยล้า ความแตกฉานด้านสุขภาพ ภาวะซึมเศร้าและการใช้ยาหลานขนาน ต่อพฤติกรรมเสี่ยงของการเกิดปัญหาในการใช้ยาในผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลว
•
ความสัมพันธ์ระหว่างความแตกฉานทางสุขภาพ ความรุนแรงของโรคความรับผิดชอบของผู้ป่วย และการรับรู้การดูแลแบบบุคคลเป็นศูนย์กลางกับคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยภายหลังผ่าตัดทำทางเบี่ยงหลอดเลือดหัวใจ
•
ความสัมพันธ์ระหว่างโรคร่วม สภาพผู้ป่วยระหว่างผ่าตัดกลุ่มอาการตอบสนองการอักเสบทั่วร่างกาย และภาวะไตวายเฉียบพลันในผู้ป่วยวิกฤ๖ระยะ 72 ชั่วโมงแรกหลังการผ่าตัดใหญ่
•
ผลของโปรแกรมการจัดการเบาหวานด้วยตนเองแบบกลุ่มต่อระดับฮีโมโกลบินเอวันซี ในผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2
•
อิทธิพลของโรคร่วม ดัชนีมวลกาย และภาวะซึมเศร้า ต่อการฟื้นตัวหลังผ่าตัดในผู้ป่วยที่ได้รับการผ่าตัดกระดูกสันหลังระดับเอว
•
ผลของโปรแกรมให้ความรู้และประคับประคองจิตใจต่อคุณภาพชีวิตในสตรีมะเร็งปากมดลูกที่ได้รับรังสีรักษา
•
ปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดภาวะการสูญเสียหน้าที่ด้านการรับรู้การเข้าใจหลังการผ่าตัด ในผู้สูงอายุที่ได้รับการผ่าตัดหัวใจ
•
ผลของโปรแกรมการเสริมสร้างพลังอำนาจต่อการฟื้นสภาพหลังผ่าตัดของผู้สูงอายุที่ได้รับการผ่าตัดเปลี่ยนข้อเข่าเทียม