ดรรชนี

สงขลานครินทร์เวชสาร = / SERIALS
Bib 13399108155
มีดรรชนีวารสาร
  •  เภสัชจลนศาสตร์ประชากรของวัลโปรอิกแอซิดในผู้ป่วยโรคลใซัก ณ สถาบันประสาทวิทยา
  •  การเปรียบเทียบระหว่างห้องปฏิบัติการสำหรับประเมินผลการตรวจพิสูจน์ดีเอ็นเอทางนิติเวชศาสตร์ในประเทศไทยประจำปี พ.ศ. 2555
  •  เสียงจากนักศึกษามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ในการเข้าถึงบริการการแพทย์ฉุกเฉินของโรงพยาบาลมหาวิทยาลัย
  •  การทดสอบความไวในหลอดทอลองของยา Vancomycin, Forsfmycin, Fusidic Ccid และ Linezolid ติดเชื้อ Methicillin - Resistant Staphylococcus aureus ในโรงพยาบาลสงขลานครินทร์ ปี 2554-2555
  •  การศึกษาลักษลักษณะกายวิภาคผันแปรของหลอดเลือดแดงในช่องท้องโดยใช้เครื่องเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ในโรงพยาบาลสงขลานครินทร์
  •  การศึกษาประสิทธิภาพและความปลอดภัยของถุงเท้าที่มีสารละลายยูเรียเป็นองค์ประกอบในการลอกเซลล์ผิวเท้าที่ตายแล้วในผู้ป่วยเบาหวาน
  •  ภาวะแทรกซ้อนทางระบบประสาทจากการรักษาด้วยเคมีบำบัดและรังสีรักษาในผู้ป่วยมะเร็ง
  •  ความชุก ปัจจัยเสี่ยงของโรคหลอดเลือดสมอง และภาวะซึมเศร้าภายหลังโรคหลอดเลือดสมองในจังหวัดพัทลุง:การศึกษาแบบตัดขวาง
  •  ผลการรักษาในระยะยาวของผู้ป่วยที่ได้รับการผ่าตัดใส่ลิ้นหัวใจเทียมชนิดทำด้วยโลหะ
  •  ประสิทธิภาพของสายวัดมาตรฐานในผู้ป่วยเด็ก
  •  การศึกษาบุคลิกภาพของผู้ป่วยไบโพลาร์ โดยใช้แบบทดสอบการฉายภาพ
  •  ผลของการให้ข้อมูลย้อนกลับต่อความคับข้องใจของผู้ป่วยจิตเวชที่ถูกผูกมัดในโรงพยาบาลสงขลานครินทร์
  •  สาเหตุและอัตราการงดผ่าตัดของผู้ป้วยไม่เร่งด่วนที่ได้รับการบรรจุรายชื่อในตารางผ่าตัดในเวลาราชการของโรงพยาบาลสงขลานครินทร์
  •  นาโนเทอรานอสติกสำหรับโรคมะเร็ง
  •  คุณภาพชีวิตของผู้ป่วยเด็กโรคธาลัสซีเมียที่ต้องรับเลือดประจำที่โรงพยาบาลสงขลานครินทร์
  •  วิธีที่วัยรุ่นจัดการกับปัญหา: การศึกษาเชิงพรรณนาแบบภาพตัดขวางในนักศึกษาแพทย์ไทย
  •  ความแตกต่างของผลการตรวจ VMA ใน Random Urine ที่มีการรักษาสภาพแบบเติมกรด6N HCI และแบบแช่แข็ง
  •  จิตเวชศาสตร์กับการพัฒนาความรู้ ทัศนคติ และการรับรู้ตัวตนแบบอัตวิสัยของนักศึกษาแพทย์เวชปฏิบัติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
  •  ผลของFacebook ต่อนักศึกษามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์วิทยาเขตหาดใหญ่
  •  โปรแกรมคอมพิวเตอร์ตามหลักการยศาสตร์ร่วมกับโยคะในที่ทำงานต่อปัยหารสุขภาพจากการใช้คอมพิวเตอร์
  •  สมุนไพรร่วมการรักษาโรคปริทันต์อักเสบ
  •  ภาวะเลือดออกส่วนปลายบาดเจ็บ