ดรรชนี

พยาบาลสาร = / SERIALS
Bib 13399108117
มีดรรชนีวารสาร
  •  ผลของการเสริมพลังอำนาจต่อการปฏิบัติการป้องกันกับการติดเชื้อและอุบัติการณ์การติดเชื้อในผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้องแบบต่อเนื่อง
  •  ผลของการพัฒนาทักษะการสื่อสารของผู้ปกครองต่อการสื่อสารเรื่องการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีระหว่างผู้ปกครองกับบุตรวัยรุ่นตอนต้น
  •  ปัจจัยทำนายความตั้งใจปฏิบัติการป้องกันการติดเชื้อวัณโรคของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลทั่วไป
  •  การดำเนินการป้องกันและควบคุมการติดเชื้อในสถานสงเคราะห์คนชรา ประเทศไทย
  •  ปัจจัยที่สัมพันธ์กับการปฏิบัติตามหลักฐานเชิงประจักษ์ของพยาบาลกุมารเวชศาสตร์ในเขตภาคใต้
  •  การทบทวนหลักฐานเชิงประจักษ์เกี่ยวกับการลดความวิตกกังวลในผู้ป่วยที่ได้รับการผ่าตัดหัวใจแบบเปิด
  •  ผลของโปรแกรมการจัดการกับอาการต่อความรุนแรงของอาการและภาวะโภชนาการในผู้ป่วยมะเร็งลำไส้ใหญ่และทวารหนักที่ได้รับยาเคมีบำบัด
  •  ความสัมพันธ์ระหว่างแรงจูงใจภายในกับพฤติกรรมควบคุมน้ำตาลในเลือดของผู้สูงอายุ ที่เป็นโรคเบาหวานชนิดที่ 2
  •  ผลของการส่งเสริมการใช้แนวปฏิบัติการพยาบาลต่อการปฏิบัติของพยาบาลและอุบัติการณ์ปอดอักเสบจาการใช้เครื่องช่วยหายใจในหอผู้ป่วยอายุรกรรม โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ
  •  ความเครียด การสนับสนุนทางสังคมและการเข้ามามีส่วนร่วมของบิดาในชาวมุสลิมที่กำลังจะเป็นบิดา
  •  ผลการเรียนรู้ของนักศึกษาพยาบาลในการให้สุขศึกษามารดาเกี่ยวกับการส่งเสริมพัฒนาการของทารก
  •  การพัฒนาการจัดการเรียนรู้แบบผสมผสานเพื่อพัฒนาทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
  •  การพัฒนาการเรียนรู้แบบปฏิสัมพันธ์ผ่านเว็บด้านทักษะการตรวจครรภ์สำหรับนักศึกษาพยาบาล
  •  สมรรถนะและการปฏิบัติบทบาทการสร้างเสริมสุขภาพของพยาบาล เขตภาคเหนือ
  •  ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติของบิดามารดาในเด็กที่ชักจากไข้สูง
  •  เปรียบเทียบคุณภาพชีวิตจากการใช้ยาช่วยเลิกบุหรี่ระหว่างชาชงหญ้าดอกขาวกับน้ำยาบ้วนปาก 0.5 เปอร์เซ็นต์ โซเดียมไนเตรต
  •  ประสิทธิผลของการสอบทบทวนโดยคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเรื่องการควบคุมอาหารสำหรับป้องกันโรคหัวใจขาดเลือดต่อพฤติกรรมการบริโภคอาหารในผู้ป่วยที่มีภาวะเสี่ยง
  •  การปฏิบัติของพยาบาลและปัจจัยที่เกี่ยวข้องในการดูแลเพื่อส่งเสริมพัฒนาการทารกแรกเกิดก่อนกำหนด
  •  พฤติกรรมการส่งเสริมพัฒนาการทารกแรกเกิดก่อนกำหนดของผู้ดูแลหลักและปัจจัยที่เกี่ยวข้อง
  •  ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับทัศนคติของบิดาเกี่ยวกับการเลี้ยงบุตรด้วยนมมารดาอย่างเดียว
  •  ผลของการเตรียมครรภ์แรกต่อความสำเร็จในการดำรงบทบาทมารดา
  •  ปัจจัยทำนายความกลัวการคลอดบุตรในสตรีตั้งหลังคลอด
  •  อัตราการปนเปื้อนเชื้อจุลชีพในเลือดส่งตรวจเพาะเชื้อที่เ็บโดยใช้ถุงมือปราศจากเชื้อกับถุงมือสะอาด
  •  ปัจจัยคุกคามสุขภาพจากการทำงานและภาวะสุขภาพตามความเสี่ยงของคนงานโรงงานเซรามิกขนาดใหญ่
  •  ผลของการทำความสะอาดเส้นผมและหนังศีรษะหลังการจัดการแผลต่อความพึงพอใจการติดเชื้อ และการหายของแผลของผู้บาดเจ็บที่มีแผลฉีกขาดที่ศีรษะ
  •  ผลของการส่งเสริมการจัดการตนเองโดยการเข้าร่วมในค่ายเบาหวานต่อพฤติกรรมการควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดและระดับฮีโมโกลบินเอวันซีของผู้ที่เป็นโรคเบาหวานชนิดที่ 2
  •  การพัฒนาคุณภาพการตรวจบันทึกทางการพยาบาลในโรงพยาบาลตติยภูมิ
  •  การทบทวนวรรณกรรมอย่างเป็นระบบเกี่ยวกับการปฏิบัติการดูแลแบบประคับประคองสำหรับผู้ป่วยระยะสุดท้ายของชีวิตในหอผู้ป่วยวิกฤต
  •  ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมดื่มไม่ขับของนักเรียนสังกัดสถาบันอาชีวศึกษาในจังหวัดเชียงใหม่
  •  ความพร้อมในการปฏิบัติพฤติกรรมสุขภาพของผู้ที่เป็นโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ที่ควบคุมไม่ได้
  •  ผลของการออกกำลังกายแบบหะฐะโยคะสมรรถภาพทางกายในผู้สูงอายุ
  •  ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติตัวด้านการฟื้นฟูสมรรถภาพปอดของผู้ที่เป็นโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง
  •  ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับภาวะซึมเศร้าของบิดาไทย
  •  สัมพันธภาพระหว่างคู่สมรส ความรักใครผูกพันระหว่างบิดากับทารกและการเข้ามามีส่วนร่วมของบิดาในระยะหลังคลอด
  •  การปฏิบัติการดูแลผู้ป่วยเด็กระยะสุดท้ายและปัจจัยที่เกียวข้องในพยาบาลฉุกเฉิน
  •  ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการใช้บริการสุขภาพระดับปฐมภูมิของคนพิการทางการเคลื่อนไหว
  •  ผลของการเรียนรู้เชิงประสบการณ์ต่อความรู้และการปฏิบัติการคัดกรองและการให้คำแนะนำโรคความดันโลหิตสูงของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน
  •  ความสามารถในการทำงานและภาวะสุขภาพของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลมหาวิทยาลัย
  •  การพัฒนากรอบสมรรถนะของพยาบาลวิชาชีพ หอผู้ป่วยวิกฤตศัลกรรม โรงพยาบาลเชียงรายประชานุเคราะห์
  •  ความรู้ ทัศนคติและการปฏิบัติตามกระบวนการพยาบาลของพยาบาลสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว
  •  คุณลักษณะของบัณฑิตที่พึ่งประสงค์ตามมุมมองของผู้ใช้บัณฑิต คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
  •  ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล บรรยากาศองค์การ กับการมีส่วนร่วมในการบริหารความเสี่ยงของบุคลากรในโรงพยาบาลชุมชน จังหวัดเชียงใหม่
  •  โรงพยาบาลดึงดูดใจตามการรับรู้ของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลลำปาง
  •  สมรรถนะและการปฏิบัติบทบาทการสร้างเสริมสุขภาพของพยาบาลในการให้บริการระดับปฐมภูมิ เขตภาคเหนือ
  •  ปัจจัยทำนายการรับวัคซีนไข้หวัดใหญ่ชนิดเอ เอช1เอ็น1 ของบุคลากรสุขภาพ