ดรรชนี

วารสารสภาการพยาบาล = / SERIALS
Bib 13399108098
มีดรรชนีวารสาร
  •  ผลการออกกำลังกายแบบก้าวตามตารางต่อสมรรถภาพทางกายในผู้สูงอายุ
  •  ผลของโปรแกรมพัฒนาความสมารถในการดูแลตนเองต่อพฤติกรรมการดูแลตนเองและระดับฮีโมโกลบินเอวันซี ของผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 โรงพยาบาลลานสกา
  •  การพัฒนาแผลหนองเทียมเพื่อส่งเสริมการฝึกทักษะการเก็บสิ่งคัดหลั่งจากแผลเพาะเชื้อ ในนักศึกษาพยาบาลชั้นปีที่ 2
  •  ผลของโปรแกรมการใช้ดนตรีบำบัดร่วมกับการสนับสนุนทางสังคมต่อภาวะซึมเศร้าในผู้สูงอายุโรคพาร์กินสัน
  •  การพัฒนาศักยภาพเครือข่ายชุมชนเมืองในการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบอุทกภัยกลุ่มเปราะบาง: กรณีศึกษาหาดใหญ่
  •  ผลโปรแกรมสร้างเสริมการจัดการตนเองต่อความรู้ พฤติกรรมการจัดการตนเองและระดับฮีโมโกลบินเอวันซีในผู้เป็นเบาหวานชนิดที่ 2 ที่ได้รับการรักษาด้วยยาฉีดอินซูลิน
  •  การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเรื่อวการดูแลตนเองสำหรับชาวไทยมุสลิมที่เป็นโรคความดันโลหิตสูง
  •  ผลของโปรแกรมการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองและญาติผู้ดูแลระยะเปลี่ยนผ่านจากโรงพยาบาลสู่บ้านต่อความสมารถในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวันภาวะแทรกซ้อน และความพึงพอใจของผู้ป่วย
  •  ผลของโปรแกรมการดูแลเท้าแบบบูรณาการต่อพฤติกรรมดูแลเท้า สภาวะเท้าและระดับ HbA 1c ของผู้ป่วยเบาหวานความเสี่ยงสูงต่อการเกิดแผลที่เท้า
  •  ปัจจัยทำนายการเผชิญความเตรียมพร้อมของผู้ดูแลผู้ได้รับบาดเจ็บไขสันหลัง
  •  ผลของโปรแกรมการปรึกษาเชิงพฤติกรรมต่อการเสริมสร้างสุขภาพครอบครัว
  •  การทำนายความตั้งใจไม่ดื่มสุราของนักศึกษาระดับปริญญาตรีชั้นปีที่ 1 การประยุกต์แนวคิดทฤษฎีพฤติกรรมตามแผน
  •  การพัฒนาและการประเมินผลการใช้รามาธิบดียางครอบท่อแทงเจาะเพื่อป้องกันลมรั่วขณะผ่าตัดผ่านกล้อง
  •  ผลของโปรแกรมการพัฒนาความสามารถในการดูแลตนเองของเด็กวัยเรียนโรคธาลัสซีเมีย และความสามารถในการดูแลเด็กของผู้ดูแลต่อพฤติกรรมการดูแลตนเองของเด็ก
  •  ผลของโปรแกรมการสนับสนุนและให้ความรู้ ต่อความรู้และพฤติกรรมการตรวจเต้านมด้วยตนเองในนิสิตพยาบาล มหาวิทยาลัยพะเยา
  •  ผลของการใช้แนวปฏิบัติทางการพยาบาลเพื่อป้องกันและจัดการกับภาวะ extravasation
  •  การคัดแยกผู้ป่วยของแผนกอุบัติเหตุ-ฉุกเฉินในประเทศไทย
  •  ผลของการใช้แนวปฏิบัติในการจัดการภาวะไข้ร่วมกับการใช้ผ้าเย็นโพลีไวนิลแอลกอฮอล์ต่อภาวะไข้ในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองแตก
  •  ความสัมพันธ์ระหว่างความรุนแรงของการเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยา อายุโรคร่วม กัลผลลัพธ์การจำหน่ายออกจากห้องฉุกเฉิน ในผู้ป่วยฉุกเฉินผู้ใหญ่
  •  บทเรียนจากการพัฒนาบริการสายด่วนช่วยเหลือวัยรุ่นตั้งครรภ์
  •  ความกลัวการกลับเป็นมะเร็งซ้ำ
  •  การขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะสุขเพื่อสุขภาพโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน: บทบาทที่ท้าทายของพยาบาลชุมชน
  •  การดูแลระยะสุดท้ายในชุมชนมุสลิม: กรณีศึกษาในบริบทภาคใต้
  •  การบำบัดแบบเสริมสร้างแรงจูงใจรายการกลุ่มโดยครอบครัวและชุมชนมีส่วนร่วมในผู้ติดสุรา ณ โรงพยาบาลชุมชนแห่งหนึ่ง: การศึกษานำร่อง
  •  ผลของโปรแกรมเสริมสร้างพลังอำนาจแก่สตรีตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงในการคลอดก่อนกำหนดและสามีต่อพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพจำนวนของการคลอดก่อนกำหนด และทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อย
  •  ประสิทธิผลการป้องกันการเกิดแผลกดทับของที่นอนชนิดไม่มีการเคลื่อนที่ของลมและชนิดที่มีการเคลื่อนที่ของลม: กรณีศึกษาเบื้องต้น
  •  ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับระดับความรุนแรงของการเกิดภาวะแทรกซ้อนหลังผ่าตัดในผู้ป่วยมะเร็งชนิดปฐมภูมิของกระเพาะอาหาร ตับ ทางเดินน้ำดี ลำไส้ใหญ่และลำไส้ตรง
  •  ผลการจัดท่านอนสะโพกสูงต่อการบรรเทาความปวดไหล่ในผู้ป่วยผ่าตัดทางนรีเวชผ่านกล้อง
  •  ผลของการนวดกดจุดสะท้อนที่ฝ่าเท้าต่อความรู้สึกปวดและความรู้สึกทุกข์ทรมานจากความปวดในผู้ป่วยโรคมะเร็ง
  •  สถานการณ์คุณภาพการปฏิบัติงานของผู้ปฏิบัติการพยาบาลขั้นสูงงานการพยาบาลผู้ป่วยอายุรศาสตร์โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่
  •  ผลของโยคะนิทราต่อความเหนื่อยล้าในมารดาหลังคลอด
  •  ผลของโปรแกรมการให้ความรู้ในการใช้ยาต่อความฉลาดทางสุขภาพด้านการใช้ยาและความร่วมมือในการใช้ยาของผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่2 ที่ไม่สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้
  •  ผลของโปรแกรมควบคุมความดันโลหิต ต่อความเชื่อด้านสุขภาพพฤติกรรมสุขภาพ ปริมาณโซเดียมที่ได้รับ และระดับความดันโลหิตของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงในชุมชน
  •  การพัฒนารูปแบบการพยาบาลผู้ป่วยอุบัติเหตุที่ต้องเข้ารับการผ่าตัดช่องท้องแบบฉุกเฉินภายใต้การระงับความรู้สึกแบบทั่วร่างกาย โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่
  •  บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนสื่อประสมเพื่อส่งเสริมการตรวจเต้านมด้วยตนเองในนักเรียนสายอาชีพ
  •  บทบาทของญาติผู้ดูแลผู้ป่วยที่ได้รับการดูแลแบบประคับประคอง: การศึกษาเบื้องต้นเชิงคุณภาพ
  •  ประสบการณ์ของผู้ทำหน้าที่ตัดสินใจแทนผู้ป่วยในการตัดสินใจยุติการรักษาเพื่อยืดชีวิต: ความต้องการการช่วยเหลือจากแพทย์และพยาบาล